กรวยจราจรขนาดต่างๆ
วัสดุของกรวยจราจร
การวางกรวยที่ถูกต้อง
หากอยู่ดีๆ คนธรรมดาปกติไปเรียงกรวยเล่นๆ บนท้องถนน จะถูกคุณตำรวจลงโทษในข้อหากีดขวางทางจราจร เพราะผู้ที่สามารถวางกรวยบนถนนจะทำได้เฉพาะเจ้าหน้าที่ตำรวจ หรือผู้ที่เกี่ยวข้องเท่านั้น และหากไปจับเล่น สามารถโดนโทษได้อีกเหมือนกัน เพราะกรวยจราจรเป็นทรัพย์สินของทางราชการ แต่ถ้าเป็นกรวยซื้อมาเอง ก็สามารถจับได้ เพื่อเอาไปใช้งานในการวางในเขตที่อยู่อาศัยของตัวเอง แต่อย่าเดือดร้อนถึงคนอื่น เพราะคนที่เดือดร้อนสามารถแจ้งคุณตำรวจมาจับเจ้าของกรวยได้เช่นกัน
ประโยชน์ของกรวยจราจร
1. ใช้ล้อมรอบอาณาเขต เพื่อกำหนดขอบเขตของสิ่งที่ล้อม
2. ตั้งไว้สำหรับเป็นสัญลักษณ์เตือนให้ระวัง หรือมีสิ่งกีดขวางบนผิวถนน
3. ตั้งไว้เพื่อเตือนว่า ทางข้างหน้าอาจจะมีอุบัติเหตุ , เป็นเขตก่อสร้าง หรือ ซ่อมแซมถนน
4. ใช้ในการแบ่งหรือรวมช่องทางการจราจร ในการวิ่งของรถบนถนน
5. ใช้ตั้งด่านสกัดกั้นเส้นทางของตำรวจ เพื่อบังคับรถให้วิ่งตามทางที่กำหนด
6. ใช้สกัดกั้นปิดเส้นทาง ไม่ให้ยานพาหนะต่างๆ วิ่งผ่านไปได้
เสาล้มลุกจราจร
วัสดุในการผลิต เสาล้มลุกจราจร
วัสดุแบ่งตามประเภทเสาล้มลุก
1. PE
2. EVA
3. PU เกรด A
4. PU เกรด B
คุณสมบัติของเสาล้มลุกจราจร
- เพิ่มความปลอดภัยในการจราจร ลดอุบัติเหตุผู้ขับขี่มีความปลอดภัย
- เนื้อยางผสมลูกแก้วสะท้อนแสง และเคลือบสีสะท้อนที่ส่วนลำตัวสังเกตเห็นได้ง่ายในเวลากลางวัน เรืองแสงขัดเจนในเวลากลางคืน
- เป็นผลิตภัณฑ์ที่ไม่เป็นพิษกับสิ่งแวดล้อม ผลิตจากยางธรรมชาติ
- มีความหยุ่นทนทานต่อการเฉี่ยวชน จะไม่เกิดความเสียหายกับรถยนต์ และเสาล้มลุกจราจร เมื่อถูกเฉี่ยวชนจะพับงอ และกลับมาอยู่สภาพเดิม
- ทนทานต่อการใช้งานทุกสภาวะ กลางแดดกลางฝน อายุการใช้งานยาวนาน
กระจกโค้งจราจร (Traffic Curved Glass)
5 เหตุผลทำไม กระจกโค้งจราจร ช่วยเพิ่มความปลอดภัย ?
กระจกโค้งจราจร สำหรับผู้ที่ยังใหม่กับการขับรถ คงจะสงสัยว่ากระจกโค้งนี้มีไว้ทำไม แล้วมันมีหลักการทำงานอย่างไร ในบทความนี้ เราจะนำเหตุผล 5 ข้อ ที่ตอบคำถามว่า ทำไมกระจกโค้งจราจรจึงช่วยเพิ่มความปลอดภัยยามขับขี่บนท้องถนนให้กับเราได้มาฝากกัน
แผงเหล็กกั้นจราจร (Steel Traffic Barrier)
แผงเหล็กกั้นจราจร (Steel Traffic Barrier)
แผงกั้นจราจรแบบไม่มีล้อ
ขนาด 1 เมตร
ขนาด 1.5 เมตร
ขนาด 2 เมตร
จุดเด่น
แผงกั้นจราจรแบบมีล้อ
ขนาด 1 เมตร
ขนาด 1.5 เมตร
ขนาด 2 เมตร
จุดเด่น
ยางชะลอความเร็ว (Speed Hump / Wheel stopper)
ยางชะลอความเร็ว จากการคำนวณของนักฟิสิกส์รางวัลโนเบล “อาร์เทอร์ คอมป์ตัน”
ไม่มีการบันทึกหลักฐานไว้ว่าใครคือผู้คิดค้นสุดยอดนวัตกรรมแห่งยุคนี้ แต่คนที่จริงจังกับเรื่องนี้ถึงขั้นคิดคำนวณอย่างละเอียดแม่นยำ คือ นักฟิสิกส์เจ้าของรางวัลโนเบล นามว่า อาร์เทอร์ คอมป์ตัน
ยางชะลอความเร็ว (Speed Hump) เป็นอุปกรณ์ยับยั้งจราจรประเภทหนึ่ง มีลักษณะพื้นผิวจราจรยกสูงเป็นโค้งรูปหลังเต่า ใช้ติดตั้งขวางทิศทางการจราจรเพื่อชะลอความเร็วของยวดยาน ที่นิยมใช้อย่างแพร่หลายมีอยู่ 4 ลักษณะคือ โค้งหลังเต่า (Sinusoidal) โค้งวงกลม (Circular) โค้งพาราโบลา (Parabolic) และ ผิวบนแบนราบ (Flat-Topped)
ว่ากันว่ายางชะลอความเร็วถือกำเนิดครั้งแรกในราว ค.ศ. 1906 ในเมืองแชตแฮม รัฐนิวเจอร์ซีย์ สหรัฐอเมริกา โดยยกพื้นทางม้าลายสูงขึ้นมาอีก 5 นิ้ว หรือประมาณ 12.7 เซนติเมตรจากพื้นถนน เพื่อบังคับรถยนต์ในสมัยนั้นที่ทำความเร็วสูงสุดได้ประมาณ 48 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ให้ชะลอความเร็วลงอีกเล็กน้อย
บรรพบุรุษของยางชะลอความเร็วนี้ทำจากอิฐและหินลูกกรวดผสมปูน วันแรกที่ติดตั้งเจ้ายางนี้ คนเกือบทั้งเมืองแห่ไปซื้อข้าวโพดคั่วและจับจองที่นั่งใกล้ ๆ เพื่อรอชมบรรดารถเงอะงะที่เด้งดึ๋งกระเด็นกระดอนและท่าทางตกใจของคนขับรถ จากพื้นถนนราบเรียบที่เปลี่ยนไปภายในข้ามคืนโดยไม่มีการแจ้งเตือนล่วงหน้า ยางชะลอความเร็วเลยกลายเป็นคู่รักคู่แค้นของคนขับรถมาตั้งแต่ตอนนั้น
กระบองไฟกระพริบ (Flashing Light Batons)
5 ข้อดีของกระบองไฟ ที่ควรหยิบมาใช้
1. กระบองไฟใช้งานได้หลากหลายกว่า
2. นกหวีดใช้แล้วเหนื่อยกว่า
3. สุขภาพระยะยาว
4. การใช้งานที่แพร่หลาย
5. การรับรู้ของคนทำได้ดีกว่า
แบริเออร์ หรือ กำแพงน้ำ (Barrier)
ตัวกั้นถนน หรือแบริเออร์ (Barrier)
เป็นอุปกรณ์กั้น เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบนท้องถนน โดยส่วนมากมักถูกติดตั้งไว้ข้างทาง หรือบริเวณเกาะกลาง เพื่อกันแนวถนนและช่วยไม่ให้รถที่เสียหลักตกข้างทางหรือหลุดออกนอกถนนจนไปชนกลับวัตถุที่อาจเป็นอันตรายอื่นๆ หน้าที่หลักของแบริเออร์ คือเมื่อรถเสียหลักตกจนชนเข้ากับตัวอุปกรณ์ ตัวแบริเออร์ ต้องสามารถกันให้รถสามารถ redirect กลับเข้าเส้นทางปกติได้ โดยไม่ทำให้รถสะท้อนกลับมากเกินไป จนไปชนกับรถคันหลังที่วิ่งตามมา โดยแบริเออร์จะต้องมีความแข็งแรงที่เพียงพอ สามารถป้องกันไม่รถพุ่งทะลุไปชนกับสิ่งอันตรายหลังแบริเออร์ได้
ไฟกระพริบโซล่าเซลล์ (Solar Cell Flash Light)
คุณสมบัติโดยทั่วไปของไฟกระพริบโซล่าเซลล์
แผงโซล่าเซลล์
แบตเตอรี่
รีเลย์ไฟกระพริบ
หลอดไฟLED
เส้นจราจรแบบสีเหลือง
เส้นจราจรแบบใหม่
ป้ายจราจรแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
1. ป้ายเตือน
2. ป้ายบังคับ
3. ป้ายแนะนำ